|
LPA ปี พ.ศ.2562 |
|
|
|
2.4 การจัดทำแผนที่แม่บท มีขั้นตอนดังนี้ |
|
ข้อ |
URL |
คำอธิบาย |
1) ถ่ายระวางที่ดิน (พิมพ์ขาว) |
|
|
2) สแกนระวางที่ดิน (เป็นไฟล์ภาพ) |
|
|
3) จัดทำแนวเขตการปกครองในระวางที่ดิน |
|
|
4) แบ่งเขต (Zone) ในระวางที่ดิน |
|
|
5) แบ่งเขตย่อย (Block) |
|
|
6) จัดทำรูปแปลงที่ดิน |
|
|
1) การจัดทำแผนที่แม่บทให้ตรวจสอบจากโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของ อปท. โดย อปท. อาจจะจัดทำแผนที่แม่บทครอบคลุมทั้งพื้นที่หรือเพียงบางส่วนของพื้นที่ก็ได้ |
|
|
2) กรณี อปท. ได้จัดทำด้วยระบบมือ และระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ให้ถือว่าได้คะแนนในข้อนี้ |
|
|
3) กรณี อปท. จัดทำด้วยโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (LTAX GIS) ของ สถ. หรือด้วยโปรแกรมของหน่วยงานอื่นให้ตรวจสอบการจัดทำแผนที่แม่บทในแต่ล่ะขั้นตอนจากโปรแกรมฯนั้นฯ ซึ่งจะต้อง ปรากฎข้อมูลแผนที่แม่บทตามขั้นตอนที่ (1) – (6) |
|
|
4) กรณี อปท. ได้จัดทำแผนที่แม่บทในขั้นตอนที่ (2) แล้ว ให้ถือว่าได้ดำเนินการในขั้นตอนที่ (1) เสร็จแล้ว |
|
|
5) กรณีพื้นที่ อปท. ใดมีเอกสารที่ดินเป็น สปก. 4-01 หาก อปท. ได้รับข้อมูลจากสำนักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัด ซึ่งเป็นไฟล์ Auto cat ให้ถือว่าได้ดำเนินการตามขั้นตอนที่ (1) และ (2) แล้ว |
|
|
|
1.2.5 ผลการคัดลอกข้อมูลที่ดิน |
|
ข้อ |
URL |
คำอธิบาย |
1) ในการคัดลอกข้อมูลที่ดิน อปท. จะต้องขอถ่ายเอกสารในสารระบบที่ดิน (ทด.1 ทด.9 นส.5) หรือพิมพ์จากระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (LIS) ของ สนง.ที่ดิน แล้วคัดลอกข้อมูลที่ดินลงในแบบสำรวจข้อมูลที่ดิน (ผ.ท.1) ทุกแปลงและกำหนดรหัสแปลงที่ดินตามแผนที่แม่บทที่ได้จัดทำเสร็จแล้ว |
|
|
2) การตรวจสอบว่า อปท. มีจำนวนแปลงที่ดินจำนวนกี่แปลง โดยตรวจสอบจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนภาษีฯ ของแต่ละ อปท. |
|
|
3) สูตรการคำนวณ จำนวนแปลงที่ดินที่คัดลอกลง ผ.ท. 1 X 100 จำนวนแปลงที่ดินตามแผนที่แม่บทฯ |
|
|
4) กรณี อปท. ใดไม่ได้จัดทำแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ จะไม่ได้คะแนนในข้อนี้ |
|
|
|
1.2.6 ผลการสำรวจข้อมูลภาคสนาม |
|
ข้อ |
URL |
คำอธิบาย |
1) การสำรวจข้อมูลสนาม หมายถึง อปท. จะต้องออกสำรวจรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินต่างๆ ของประชาชนในพื้นที่ โดยข้อมูลเกี่ยวกับที่ดินจะบันทึกลงในแบบ ผ.ท.1 ข้อมูลเกี่ยวกับโรงเรือนและสิ่งปลูกสร้างจะบันทึกลงในแบบ ผ.ท.2 ข้อมูลเกี่ยวกับป้ายและการประกอบการค้าจะบันทึกลงในแบบ ผ.ท.3 |
|
|
2) การตรวจสอบว่า อปท. มีจำนวนแปลงที่ดินจากข้อมูลแผนที่แม่บท แต่ละแผนตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท. |
|
|
3) สูตรการคำนวณ จำนวนแปลงที่ดินสำรวจข้อมูลภาคสนาม X 100 จำนวนแปลงที่ดินตามแผนที่แม่บทฯ |
|
|
4) ให้ตรวจสอบว่า อปท. ได้มีการสำรวจข้อมูลภาคสนามได้เป็น ร้อยละเท่าไรของจำนวนแปลงที่ดินทั้งหมดตามข้อ 2 |
|
|
|
1.2.7 การนำทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) และทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5) ไปใช้เป็นข้อมูลในการประเมินภาษี การตรวจสอบการนำทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) และทะเบียนคุม ผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5) ไปใช้เป็นข้อมูลในการประเมินภาษี มีดังนี้ |
|
ข้อ |
URL |
คำอธิบาย |
1) ให้ตรวจสอบว่า ภ.ร.ด.2, ภ.บ.ท.5 และ ภป.1 มีการประทับตราข้อความว่าได้ตรวจสอบกับ ผ.ท.4 ผ.ท.5 หรือไม่ |
|
|
2) ให้ตรวจสอบว่า ผ.ท.5 ของผู้อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีว่าได้มีการบันทึกข้อมูลการชำระภาษี (รับยื่นแบบประเมิน และชำระภาษี) และได้มีการติดสลิปสีเขียวหรือไม่ |
|
|
|
1.2.8 การปรับข้อมูลทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) เป็นปัจจุบัน การตรวจสอบการปรับปรุงข้อมูลทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) เป็นปัจจุบัน มีดังนี้ |
|
ข้อ |
URL |
คำอธิบาย |
1) ให้ตรวจสอบจากแบบบัญชีแสดงรายการปรับข้อมูล (ผ.ท.13) จาก ผู้ที่รับผิดชอบจากหน่วยงานคลัง และผู้บังคับบัญชาลงลายมือชื่อรับทราบ |
|
|
2) ให้ตรวจสอบจากทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) ว่ามีการปรับปรุงข้อมูลตามแบบ ผ.ท.13 ตามข้อ 1 หรือไม่ (ข้อสังเกต) หากมีการปรับปรุงข้อมูลในทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) จะมีข้อมูลการปรับปรุง ดังนี้ |
|
|
2.1 มีรหัสแปลงที่ดินรหัสใหม่ขึ้นมา เช่น รหัสที่ดินเดิมเป็น 01A001/001 เป็นต้น |
|
|
2.2 จะมีการขีดฆ่าข้อความเดิมด้วยปากกาสีแดงและเขียนข้อความใหม่ |
|
|
|
1.2.9 การปรับปรุงข้อมูลแผนที่ภาษี (ผ.ท.7) เป็นปัจจุบัน การตรวจสอบการปรับปรุงข้อมูลแผนที่ภาษี (ผ.ท.7) เป็นปัจจุบัน มีดังนี้ |
|
ข้อ |
URL |
คำอธิบาย |
1) ให้ตรวจสอบจากแบบบัญชีแสดงรายการปรับข้อมูล (ผ.ท.13) จากผู้รับผิดชอบจากฝ่ายช่าง และผู้บังคับบัญชาลงลายมือชื่อรับทราบ |
|
|
2) ให้ตรวจสอบจากแผนที่ภาษี (ผ.ท.7) ว่ามีการปรับปรุงข้อมูลตามแบบรายงาน ผ.ท.13 ตามข้อ 1 หรือไม่ |
|
|
|
|
<< หน้าแรก... 10 11 12 13 (14) 15 16 17 18 ....หน้าสุดท้าย >> 40 |